24h購物| | PChome| 登入
2013-10-10 12:59:45| 人氣1,107| 回應0 | 上一篇 | 下一篇

菩多佛教文物1館N23~25-曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打2尊

推薦 0 收藏 0 轉貼0 訂閱站台

 




0112220曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金南帕亞佛牌(3.3x2.3x1.05)1.JPG






0112220曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金南帕亞佛牌(3.3x2.3x1.05)2.JPG






0112220曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金南帕亞佛牌(3.3x2.3x1.05)3.JPG






0112220曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金套裝佛牌1.JPG






0112220曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金套裝佛牌2.JPG






0112221曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金拍洛佛牌(2.7x1.5x1.05)1.JPG






0112221曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金拍洛佛牌(2.7x1.5x1.05)2.JPG






0112221曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金拍洛佛牌(2.7x1.5x1.05)3.JPG






0112222曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.6x1.6x1)1.JPG






0112222曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.6x1.6x1)2.JPG






0112222曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.6x1.6x1)3.JPG






0112223曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)1.JPG






0112223曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)2.JPG






0112223曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)3.JPG






0112224曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)1.JPG






0112224曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)2.JPG






0112224曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)3.JPG






0112225曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)1.JPG






0112225曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)2.JPG






0112225曼谷瓦摳農寺2514~2515錫合金必打(2.7x1.8x1)3.JPG

曼谷
 
瓦摳農寺
 
2514~2515錫合金必打佛牌.
 
佛曆2514~2515年(西元1971~1972年)
  
佛牌的主原料是錫.
 
是取自瓦囊寺龍普YAM大師埋藏於佛塔內的加持老錫塊.
 
2514當年佛寺邀請
 
瓦巴魯清比寺-龍普多大師.
 
瓦必坤通寺-龍波培大師.
 
瓦嘎龍寺-龍普素大師.
 
瓦隆亞宏寺-龍波艮大師.
 
瓦三暗寺-龍波爹大師.
 
瓦汪威衛寺-龍波烏搭媽大師.
 
瓦考素今寺-龍波宋猜大師.
 
龍波倩大師.......等當代眾多高僧輪流加持9日9夜.
 
佛牌全功能
 
含防水銀殼尺寸
 
必打.高2.7公分.寬1.8公分.厚1公分
 
*******************************
 
以下是泰文資料.提供給有能力翻譯的藏家參考.
 
   

พระชุดวัดโคนอน หลวงปู่โต๊ะปลุกเสก ปี 2514

 
พระปิดตา วัดโคนอน เนื้อตะกั่ว ปี14-15


พระปิดตา วัดโคนอน เนื้อตะกั่ว ปี14-15

จัด สร้างเพื่อฉลองพระอุโบสถหลังใหม่ของทางวัดโคนอน โดยใช้แท่งเนื้อตะกั่วของหลวงปู่เอี่ยมวัดหนังที่ได้เจอในกรุเป็นมวลสารหลัก หลวงปู่เอี่ยมเคยจำพรรษาที่วัดโคนอนก่อนจะย้ายไปอยู่ที่วัดหนัง และท่านได้สร้างพระปิดตา เนื้อตะกั่วพิมพ์ต่างๆไว้ที่วัดโคนอนด้วย พระเนื้อตะกั่ว ปี14-15 ได้เข้าพิธีปลุกเสกใหญ่ 9 วัน 9 คืน โดยมีเกจิดังๆในยุคนั้นล้วนเข้ามาร่วมปลุกเสกด้วย อาทิเช่น หลวงปู่โต๊ะ ลพ.แพ วัดพิกุลทอง, ลพ.สุด วัดกาหลง, ลพ.แช่ม วัดดอนยายหอม, ลพ.เนื่อง วัดจุฬามณี, ลพ.อุตตะมะ วัดวังวิเวการาม, ลพ.สมชาย วัดเขาสุกิม , ลพ.คง วัดวังสรรพรส , ลพ.เงิน วัดดอนยายหอม, ลพ.เต๋ คงทอง, ลพ.เก๋ วัดแม่น้ำ, ลพ.ทองอยู่ วัดใหม่หนองพระองค์ ฯลฯ

พระชุดนี้จะหล่อโบราณเป็นองค์ๆ แต่ละองค์จะไม่เหมือนกันสักทีเดียว องค์นี้เป็นพิมพ์พระปิดตา เห็นคราบปรอทลอยผิวได้ชัดเจน และโค๊ตด้านหลังสวยสมบูรณ์ องค์นี้เรียกว่าสวยแล้วครับ ถึงจะเป็นพระไม่แพง แต่ก็มีของเก๊ออกมาแล้ว แต่ฝีมือยังห่าง และโค๊ตไม่เหมือน พระดี ราคาถูกแห่งยุคปัจจุบันครับ

วัดโคนอน (กรุงเทพมหานคร)

“วัดโคนอน”ตั้งอยูหมูที่ 3 แขวงบางหวา เขตภาษีเจริญ กุรงเทพมหานคร
“วัดโคนอน” เปนวัดราษฎร ชนิดมีพัทธสีมา สังกัดคณะมหานิกาย ตั้งอยู ณ ฝงขวาของ
คลอง ที่ชื่อวา คลองขวาง หรือคลอง เลขประจําวัดที่ 13 เปนวัดที่สรางมาแตโบราณ มีนามวา
“วัดโคนอน” ประมาณวา คงจะสรางขึ้นในราวกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี ซึ่งมีขอสันนิษฐานจาก
สิ่งกอสรางรูปทรงที่มีศิลปตามแบบของชางสมัยกรุงศรีอยุธยา ตามแบบศิลปที่มีอยูภายในวัด และ
วัตถุโบราณ อาทิเชน รูปทรงสันฐานของอุโบสถหลังเกา ซึ่งเปนแบบมหาอุด คือมีประตูทางดาน
หนาประตูเดียว ดานหลังปดทึบ ตามที่ชาวบานนิยมเรียกกันวา โบสถมหาอุด พรอมทั้งมีภาพ
เขียนที่หลงเหลืออยูบางเทานั้น และอีกประการหนึ่งก็คือ วัตถุโบราณ อาทิเชน ตูพระไตรปฎก
ลายรดน้ำที่มีลวดลายศิลปของชางสมัยอยุธยา แตประวัติของวัดที่แทจริงนั้นยังคนไมพบหลักฐานที่
แนนอนวาสรางขึ้นในสมัยใด และใครเปนผูสราง แตมาทราบเอาพอที่จะไดหลักฐาน ก็ประมาณ
สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 วาวัดนี้มีอยูแลว และมีการบูรณะ
ปฏิสังขรณจนเจริญรุงเรืองพอสมควรในสมัยนั้นตามคําบอกเลาวา “วัดโคนอน” ในระยะนั้นเปน
วัดที่เจริญมากวัดหนึ่ง ซึ่งเปนเหตุทําใหเกิดวัดขึ้นมาใหมอีกวัดหนึ่ง มีชื่อวา “วัดอางแกว” โดยเจา
อาวาส “วัดโคนอน” ที่มีชื่อวา พระภาวนาโกศลเถระ (รอด) ซึ่งทานเปนอาจารยของ พระภาวนา
โกศลเถระ (เอี่ยม สุวณฺณสโร) ตนสกุลทองอู ไดเปนผูสรางขึ้น ในสมัยที่ขุดคลองภาษีเจริญขึ้น
ใหม ๆ และอีกประการหนึ่ง ที่ฐานพระประธานอุโบสถหลังเดิมนั้นมีคําจารึกวา พระครูธรรมถิดา
ญาณ สรางถวายไวในพระพุทธศาสนา ปพุทธศักราช 2384 ซึ่งมีผูสันนิษฐานวา คงจะเปนพระ
ประธานที่นํามาประดิษฐานในภายหลัง เพราะวาการกออิฐถือปูน เปนวัสดุที่ตางชนิดกันกับการ
สรางอุโบสถ จึงทําใหสันนิษฐานไปวา พระประธานอุโบสถหลังนี้ จะตองนํามาประดิษฐานใน
ภายหลังอยางแนนอน โดยองคเดิมอาจจุชํารุดและซอมไมไดแลว พระครูธรรมถิดาญาณองคนี้ตอ
สถานที่ตั้ง
ประวัติวัดโคนอน
มาภายหลังทานไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปนพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่พระภาวนาโกศลเถระ
(รอด) ทานเคยเปนผูชวยเจาอาวาสวัดหนังราชวรวิหาร และเจาอาวาสวัดนางนอง เขตบางขุนเทียน
กรุงเทพมหานคร จึงไดจัดสรางถวายไวที่ “วัดโคนอน” แตไมทราบวาทําการหลอที่ไหน เมื่อไร
เพราะไมมีหลักฐาน ซึ่งตอมาในภายหลังผูสราง ไดยายจากวัดนางนอง มาอยูเปนเจาอาวาสที่ “วัด
โคนอน” แหงนี้ โดยมีเรื่องเลากันตอมาวา สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ 4
เสด็จพระราชดําเนินมาทรงถวายผาพระกฐิน ณ วัดนางนอง อําเภอบางขุนเทียน จังหวัดธนบุรี
ปจจุบันเปลี่ยนเปน เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ซึ่งสมัยนั้นทานมีตําแหนงเปนเจาอาวาส
และมีสมณศักดิ์เปนพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่พระภาวนาโกศลเถระ (เจาคุณรอด) เมื่อทานรับผา
พระกฐินแลว แตทานไมไดถวายอดิเรก ซึ่งเปนธรรมเนียมในการรับพระราชาที่ไดเสด็จ ฯ เปนให
ทางการคณะสงฆ ตําหนิโทษ และถอดออกจากสมณะศักดิ์ ทานจึงไดยายมาอยู “วัดโคนอน” ตอ
มาในภายหลังทานไดเปนเจาอาวาส ซึ่งในสมัยนั้น “วัดโคนอน” เปนวัดที่เจริญมากวัดหนึ่ง และ
สิ่งกอสรางภายในวัดก็มีเปนที่เรียบรอยและสมบูรณ จึงไมมีการบูรณะและซอมสรางขึ้นใหมอีกเลย
เขตและอุปจารวัด
เขตอุปจารวัด นาจะถือเอาโดยนัยกําหนดพื้นที่ทั้งหมดของวัด ที่เจาพนักงานไดรังวัดและ
จัดแยกประเภทที่ตั้งวัด และที่ธรณีสงฆ ออก ส.ค. 1 ใหไวเปนหลักฐานที่สําคัญดังนี้คือ
1. ที่จัดสรางวัด ตามใบ ส.ค. 1 ที่สรางวัด มีเนื้อที่ประมาณ 3 ไร 1 งาน 8 ตารางวา
พื้นที่ที่ทางการจัดไว ไดรูปเปน 4 มุม 4 เหลี่ยมผืนผา ดานตะวันออก จดคลองขวาง (คลองวัด
โคนอน) ดานใต จดที่ 153 เปนของนางสาวสงวน เมืองทอง ดานตะวันตก จดที่ 154 เปนที่ดิน
ธรณีสงฆ ดานเหนือ จดที่ 100 เปนของนายเตะ เตียเปน
2. ที่ธรณีสงฆ ตามโฉนดที่ดิน เลขที่ 2094 ระวาง 3 ต. เลขที่ดิน 154 มีเนื้อที่ดิน
จํานวน 3 ไร 3 งาน ซึ่งทางราชการจัดไวดังนี้ ดานตะวันออก จดที่ ส.ค. 1 ที่ 1 ลงวันที่ 25
พฤษภาคม พ.ศ. 2498 ที่ดินที่จัดสรางวัดในสมัยนั้น ดานใต จดที่ 153 ของนางสาวสงวน เมือง
ทอง ดานตะวันตก จดที่ 152 ของนายใย สมานวงศ และจุดที่ 146 ของ น.อ.นอม สุภัทรพันธุ
รน. ดานทิศเหนือ จดที่ 100 ของนายเตะ เตียเปน
3. ที่ทางวัดจัดซื้อขึ้นใหม เพื่อขยายเขตของวัดใหมากขึ้น โดยการนําของ พระครูวิจิตร
นวการ (พระมหาทองปลิว ธุตมโล) เจาอาวาสองคปจจุบัน เปนเนื้อที่ดินจํานวน 515 ตารางวา
ซึ่งอยูในเนื้อที่ดิน เลขที่ 153 ซึ่งทางราชการจัดไวดังนี้ ดานตะวันออก จดคลองขวาง (คลองวัด
โคนอน) ดานใต จดที่ของ นายจรูญ นางชด สายสุนทร ดานตะวันตก จดที่ดิน 153 อีกสวน
หนึ่งของนางสาวสงวน เมืองทอง ที่แบงใหเปนกรรมสิทธิ์ ของ ร.ร. “วัดโคนอน” ดานเหนือ จด
ที่ ส.ค. 1 ที่สรางวัด
4. ที่ดินที่เปนพื้นที่ตั้งวัดในปจจุบัน เปนพื้นที่ 4 เหลี่ยม รูปตัวแอนดดังนี้ คือ
ก. ทิศเหนือ จดที่ 100 ของนายเตะ เตียเปน
ข. ทิศตะวันออก จดคลองขวาง (คลองวัดโคนอน)
ค. ทิศใต จดที่ดินของนายจรูญ นางชด สายสนุทร และอีกสวนหนึ่ง จดที่ดินที่เปน
สวนของ ร.ร. “วัดโคนอน”
ง. ทิศตะวันตก จดที่ดิน 153 ของนางสาวสงวน เมืองทอง สวนที่มอบให ร.ร.
“วัดโคนอน” ที่ดิน 152 ของนายใย สมานวงศ และที่ดิน 146 ของ น.อ. นอม
สุภัทรพันธุ รน.
ปจจุบันนี้ ทางวัดไดจัดการขยายเขตอุปจาระ (เขตวัดทั้งหมด) ออกไปเปนเนื้อที่ดินรวม
กัน จํานวน 3 โฉนด มีเนื้อที่ดินที่สรางวัดของเดิม ที่ดินธรณีสงฆ และที่ดินที่จัดซื้อขึ้นใหมเพื่อ
ขยายเขตวัด คิดใหมตามปจจุบัน รวมเปนเนื้อที่ทั้งหมด รวมกันไดจํานวน 8 ไร 1 งาน 23
ตารางวา โดยจัดทําและออกโฉนดไวโดยถูกตอง ตามกฎกระทรวง ที่แจงไวที่กรมการศาสนา
กระทรวงศึกษาธิการ และถูกตองสมบูรณแลว
เจาอาวาสองคที่ 1 พระภาวนาโกศลเถระ (หรือหลวงปูรอด)
เจาอาวาสองคที่ 2 พระภาวนาโกศลเถระ (หลวงปูเอี่ยม สุวณฺณสโร)
เจาอาวาสองคที่ 3 พระอธิการทิม
เจาอาวาสองคที่ 4 พระอธิการอยู
เจาอาวาสองคที่ 5 พระอธิการอุน พฺรหฺมสโร
เจาอาวาสองคที่ 6 พระอธิการสายหยุด วรุตฺตโม (ทองเนียม)
เจาอาวาสองคที่ 7 พระครูพรหมโชติวัฒน (บุญมี พฺรหฺมโชติโก) กิตติธรรม ปฏิบัติหนา
ที่เพียงแตเปนผูรักษาการแทนเจาอาวาสอยูระยะหนึ่งเทานั้น
เจาอาวาสองคที่ 8 พระครูวิจิตรนวการ (พระมหาทองปลิว ธุตมโล) พุมพิมล ปฏิบัติ
หนาที่ผูรักษาการเจาอาวาสอยูระยะหนึ่ง แลวไดรับแตงตั้งเปนเจา
อาวาสอมาจนถึงปจจุบันนี้

1-01122-20508045

台長: THOKCHAS

是 (本台目前設定為強制悄悄話)
* 請輸入識別碼:
請輸入圖片中算式的結果(可能為0) 
(有*為必填)
TOP
詳全文